ค้นหา
เมนู
- หน้าหลัก
- หมวดหมู่
- ภัยพิบัติ (65)
- ธรรมชาติ (286)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (172)
- สังคม (2814)
- วัฒนธรรม (3270)
- ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรม (19)
- ชาติพันธุ์ (531)
- ประเพณี (780)
- ภูมิปัญญาไทย (1652)
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (11)
- การแต่งกาย (25)
- การรักษาโรค (67)
- การละเล่นพื้นบ้านและนาฏศิลป์ (381)
- การศึกษา (2)
- งานช่างฝีมือพื้นบ้าน (385)
- ผ้าทอ (300)
- งานหล่อ (0)
- งานแกะสลัก (11)
- งานปั้น เครื่องปั้นดินเผา และเซรามิก (12)
- ภาพเขียน (1)
- เครื่องถม (0)
- เครื่องจักรสาน (36)
- เครื่องทอง (1)
- เครื่องเงิน (2)
- เครื่องกระดาษ (2)
- เครื่องเขิน (2)
- เครื่องไม้ (7)
- เครื่องรัก (0)
- เครื่องโลหะ (6)
- เครื่องหนัง (0)
- อัญมณีและเครื่องประดับ (0)
- งานช่างฝีมืออื่นๆ (4)
- ที่อยู่อาศัย (99)
- ภาษาและวรรณกรรม (290)
- ศิลปะการป้องกันตัว (8)
- อาชีพและวิธีการหากิน (27)
- อุปกรณ์หากินและของใช้ (154)
- อาหาร (203)
- เครือข่ายทางวัฒนธรรม (204)
- วัฒนธรรมหลวง (17)
- เนื้อหาวัฒนธรรมรอจัดหมวด (0)
- ศิลปะและการบันเทิง (699)
- ศาสนาและจิตวิญญาณ (7090)
- เนื้อหารอจัดหมวด (26)
- ค้นหาชั้นสูง
- บริจาคเนื้อหา
- เกี่ยวกับโครงการ
ล็อกอิน
ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมสกลนคร
ไหมพันธุ์ไทยลูกผสมสกลนคร
ไหมไทยลูกผสม มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ในการผลิตเป็นไหมเส้นพุ่งที่ใช้ในการทอผ้าไหมสำหรับทำเสื้อผ้าไมสำเร็จ
รูป จำหน่ายให้แก่ คนไทยและนักท่องเที่ยวจากต่างประเทศการเพิ่มผลผลิตไหมเส้นพุ่งจะเป็นการลดการนำเข้าเส้นไหม
จากต่างประเทศไหมไทยลูกผสมเป็นพันธุ์ไหมที่มีความแข็งแรง และให้ผลผลิตสูง เหมาะที่จะแนะนำให้เลี้ยงในพื้นที่มี
การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม ซึ่งจะช่วยในการเพิ่มผลผลิตไหมเส้นพุ่งได้ ด้วยเหตุผลนี้ สถานีทดลองหม่อนไหมสกลนครจึงได้ปรับปรุงพันธุ์ไหมไทยลูก ผสมที่ให้ผลผลิต สูงและ การผลิตไข่ไหมไทยลูกผสมทำได้อย่างประหยัด และมีคุณภาพตั้งแต่ปี 2533 เป็นต้นมา
- วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้พันธุ์ไหมไทย ลูกผสมพันธุ์ใหม่ที่มีแม่และพ่อพันธุ์ สามารถคัดแยกเพศได้ในระยะหนอนไหม เพื่อความสะดวก
ในการ ผลิตไข่ไหมให้เกษตรกร และเป็นพันธุ์ไหมที่มีความแข็งแรง ให้ผลผลิตสูง
- ประวัติ
พันธุ์ไหมไทยลูกผสมเดี่ยว SP1x SB2 เป็นลูกผสมที่เกิดจากการผสมพันธุ์ระหว่างไหมพันธุ์ไทย SP1 กับไหมพันธุ์ต่าง
ประเทศ SB2 เริ่มทำการปรับปรุงพันธุ์ในปี 2533 ที่สถานีทดลองหม่อนไหมสกลนคร โดยมีขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ ดังนี้
ปี 2533 - 2537
ทำการปรับปรุงพันธุ์ไหม แม่ และพ่อพันธุ์ ซึ่งได้แก่ SP1 และ SB2 โดยมุ่งเน้นการนำ
ลักษณะการแยกเพศได้ในระยะหนอนไหมมาใช้ประโยชน์
ปี 2536 - 2537 ทดสอบพันธุ์ไหมไทยลูกผสมเดี่ยว SP1 SB2 ในภาคเกษตรกรในเขตสกลนคร
ปี 2538
ทดสอบสมรรถนะการผสม และการเปรียบเทียบเบื้องต้นของไหมไทย ลูกผสมเดี่ยว
จำนวน 16 พันธุ์
ปี 2539 เปรียบเทียบมาตรฐานของไหมไทยลูกผสมเดี่ยว จำนวน 6 พันธุ์
ปี 2540 เปรียบเทียบในท้องถิ่นต่างๆ ของไหมไทยลูกผสมเดี่ยว จำนวน 4 พันธุ์
ลักษณะดีเด่น
1. เป็นพันธุ์ไหมไทยลูกผสมที่มีแม่ และพ่อพันธุ์ สามารถคัดแยกเพศได้ในระยะหนอนไหม ทำให้กระบวนการผลิตไข่ไหมได้
สะดวกมากขึ้น
2. มีความแข็งแรง เลี้ยงได้ตลอดปี
3. ให้ผลผลิตสูงกว่าอุบลราชธานี 60 - 35
4. จำนวนไข่ไหมต่อแม่ และน้ำหนักรังสดสูงกว่าอุบลราชธานี 60 - 35
5. มีความยาวเส้นใยยาว และสาวง่ายกว่าอุบลราชธานี 60 - 35
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
สีของลำตัวหนอนไหม เพศเมียลาย เพศผู้ขาวปลอด
ขนาดลำตัวหนอนไหม (กว้าง x ยาว) 0.90 x 7.00 เซนติเมตร
รูปร่างรังไหม ยาวรี
ขนาดรังไหม (กว้าง x ยาว) 1.8 x 3.5 เซนติเมตร
สีของรังไหม สีเหลือง
สีของเส้นใย สีเหลือง
ลักษณะทางการเกษตร
จำนวนไข่ไหมต่อแม่ 540 ฟอง
ระยะเวลาหนอนไหม 19.09 วันต่อชั่วโมง
เปอร์เซ็นต์การเลี้ยงรอดวัยอ่อน 90.55
เปอร์เซ็นต์ดักแด้สมบูรณ์ 92.07
น้ำหนักรังสดเฉลี่ย 1 รัง 1.75 กรัม
น้ำหนักเปลือกรังเฉลี่ย 1 รัง 28.33 เซนติเมตร
เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง 16.01
ขนาดเส้นไหม 2.45 ดีเนียร์
ความยาวเส้นไหมต่อรัง 865 เมตร
เปอร์เซ็นต์การสาวง่าย 71.50
ผลผลิตรังสดต่อแผ่น 21.40 กิโลกรัม
กรมวิชาการเกษตร
พิจารณารับรองพันธุ์ เมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2542
ที่มาของข้อมูล กรมส่งเสริมการเกษตร
รวม link - รวมพันธุ์ไหมไทยลูกผสมที่ให้ผลผลิตสูง