ค้นหา
เมนู
- หน้าหลัก
- หมวดหมู่
- ภัยพิบัติ (65)
- ธรรมชาติ (286)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (172)
- สังคม (2814)
- วัฒนธรรม (3270)
- ความรู้พื้นฐานทางวัฒนธรรม (19)
- ชาติพันธุ์ (531)
- ประเพณี (780)
- ภูมิปัญญาไทย (1652)
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (11)
- การแต่งกาย (25)
- การรักษาโรค (67)
- การละเล่นพื้นบ้านและนาฏศิลป์ (381)
- การศึกษา (2)
- งานช่างฝีมือพื้นบ้าน (385)
- ผ้าทอ (300)
- งานหล่อ (0)
- งานแกะสลัก (11)
- งานปั้น เครื่องปั้นดินเผา และเซรามิก (12)
- ภาพเขียน (1)
- เครื่องถม (0)
- เครื่องจักรสาน (36)
- เครื่องทอง (1)
- เครื่องเงิน (2)
- เครื่องกระดาษ (2)
- เครื่องเขิน (2)
- เครื่องไม้ (7)
- เครื่องรัก (0)
- เครื่องโลหะ (6)
- เครื่องหนัง (0)
- อัญมณีและเครื่องประดับ (0)
- งานช่างฝีมืออื่นๆ (4)
- ที่อยู่อาศัย (99)
- ภาษาและวรรณกรรม (290)
- ศิลปะการป้องกันตัว (8)
- อาชีพและวิธีการหากิน (27)
- อุปกรณ์หากินและของใช้ (154)
- อาหาร (203)
- เครือข่ายทางวัฒนธรรม (204)
- วัฒนธรรมหลวง (17)
- เนื้อหาวัฒนธรรมรอจัดหมวด (0)
- ศิลปะและการบันเทิง (699)
- ศาสนาและจิตวิญญาณ (7090)
- เนื้อหารอจัดหมวด (26)
- ค้นหาชั้นสูง
- บริจาคเนื้อหา
- เกี่ยวกับโครงการ
ล็อกอิน
ผ้าไทยภาคเหนือ - จังหวัดกำแพงเพชร
ผ้าไหมลายเพชร
silk in the "phet" (diamond) pattern
ในจังหวัดกำแพงเพชร ราษฎรส่วนใหญ่อพยพมาจากภาคอีสานมีพื้นฐานความรู้การทอผ้ามาจากบรรพบุรุษผ้าที่ทอเป็นผ้าไหมมัดหมี่ ผ้าขาวม้าไหม ผ้าขาวม้าโทเร และผ้ามัดหมี่โทเร
นอกจากนี้ ยังมีการทอผ้าพื้นและผ้าฝ้าย อาทิ ลายดอกปีบ และทอผ้าไหมที่บ้านหนองนกชุม อำเภอทรายทองวัฒนาที่บ้านลานไผ่ อำเภอพรานกระต่าย และที่ตำบลหินดาต อำเภอปางศิลาทอง มีกลุ่มหัตถกรรมผ้าไท ทอผ้าไหมลายเพชร เป็นต้น
Kamphaeng Phet
The majority of the residents of Kamphaengphet emigrated from the Northeastern part of Thailand, bringing with them the knowledge of weaving gained from their ancestors.
Cotton and silk yardage is woven in the Dok-Peep pattern at Ban Nong Nokchum in Sai Thong Wattana District, Ban Lan Pai in Phran Kratai District and a Tai handicraft group in Hin Dat Sub-district, Pang Silathong District ,where silk is widely woven in the diamond (Phet) pattern.
กลับไปยังหน้ารวม link ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับผ้าไทยทั้งสี่ภูมิภาค