ค้นหา
เมนู
- หน้าหลัก
- หมวดหมู่
- ภัยพิบัติ (65)
- ธรรมชาติ (286)
- วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (172)
- สังคม (2814)
- วัฒนธรรม (3270)
- ศิลปะและการบันเทิง (699)
- ศาสนาและจิตวิญญาณ (7090)
- เนื้อหารอจัดหมวด (26)
- ค้นหาชั้นสูง
- บริจาคเนื้อหา
- เกี่ยวกับโครงการ
ล็อกอิน
สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "ไม้แล่นตีนดั้ง หรือ ขัวหย้าง"
สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "ไม้แล่นตีนดั้ง หรือ ขัวหย้าง"
ไม้แล่นตีนดั้ง หรือ "ขัวหย้าง" มีลักษณะเป็นไม้เหลี่ยมแบน หรือไม้ไผ่ทั้งลำต้นจะวางคู่ขนานยึดประกบส่วนของดั้ง โดยลอดผ่านจั่วกรุกั้นห้องตรงที่มีช่องลม มีประโยชน์ใช้ยึดตั้ง ทำให้โครงหลังคามั่นคง และสะดวกในการจะขึ้นไปซ่อมหลังคา โดยมากใช้ไม้ไผ่สองลำถักรัดด้วยหวาย
โดย นักศึกษาสาขาวิชาสื่อและการผลิตสื่อ 2549
ขอบคุณข้อมูลจาก สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อมูลต้นฉบับ : http://art-culture.chiangmai.ac.th/museum/20.php
สถาปัตยกรรมเรือนกาแลล้านนา
1. แวง
2. ต๋ง
3. พื้นเรือน/ไม้แป้นต้อง
4. ขื่อ
5. แป๋-แป๋ป้าง
6. ดั้ง/ดั้งแขวน/ใบดั้ง
7. ตั้งโย้
8. แป๋จ๋อง
9. ก้าบ
10. ก๋อน
11. ไม้กั้นฝ้า
12. แป๋ลอย
13. น้ำย้อย
14. ยาง
15. ยางก้ำ
16. ตะพานหนู
17. ไม้ตะเฆ้
18. ก๋อนก้อย
19. ขั้วหย่าง
20. ควั่น
21. แหนบ
22. ไขรา
23. ปั้นลม
24. หลังคา
25. รางริน
26. ฝา
ข้อมูลโดย นักศึกษาสาขาวิชาสื่อศิลปะและการผลิตสื่อ 2549 และคุณเศรษฐศิลป์ อินถาบุตร (ผู้ให้ข้อมูล)
พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่