สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "น้ำย้อย"

วันที่เอกสารถูกสร้าง: 
01/11/2008
ที่มา: 
สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ http://art-culture.chiangmai.ac.th/

สถาปัตยกรรมเรือนกาแล เรื่อง "น้ำย้อย"


น้ำย้อยหรือ" แป้นน้ำย้อย" (ภาคกลางเรียกว่า เชิงชาย) เป็นไม้เหลี่ยมแบนยาวๆ ที่ยึดติดกับปลายล่างของกอน(ก๋อน) ติดปลายของ "เต้า(ปีกยาง)" ที่จะมายึดติดด้วย แต่เนื่องจากบางแห่ง เต้าไปยึดและรับน้ำหนักถ่ายลงมาที่เสา แป(แป๋)ลอยจึงไม่ได้รับน้ำหนัก

พบที่เรือนโบราณ สำนักส่งเสริมฯ ไม่มีแป้นน้ำย้อยและตะพานหนู

ข้อมูลโดย: เศรษฐศิลป์  อินถาบุตร
และนักศึกษาสาขาวิชาสื่อและการผลิตสื่อ 2549

ขอบคุณข้อมูลจาก  สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ข้อมูลต้นฉบับ : http://art-culture.chiangmai.ac.th/museum/14.php


สถาปัตยกรรมเรือนกาแลล้านนา

1. แวง   
2. ต๋ง   
3. พื้นเรือน/ไม้แป้นต้อง   
4. ขื่อ  
5. แป๋-แป๋ป้าง   
6. ดั้ง/ดั้งแขวน/ใบดั้ง   
7. ตั้งโย้   
8. แป๋จ๋อง  
9. ก้าบ   
10. ก๋อน   
11. ไม้กั้นฝ้า  
12. แป๋ลอย  
13. น้ำย้อย  
14. ยาง  
15. ยางก้ำ   
16. ตะพานหนู  
17. ไม้ตะเฆ้ 
18. ก๋อนก้อย  
19. ขั้วหย่าง  
20. ควั่น  
21. แหนบ 
22. ไขรา  
23. ปั้นลม   
24. หลังคา   
25. รางริน   
26. ฝา

ข้อมูลโดย นักศึกษาสาขาวิชาสื่อศิลปะและการผลิตสื่อ 2549 และคุณเศรษฐศิลป์ อินถาบุตร (ผู้ให้ข้อมูล)

พิพิธภัณฑ์เรือนโบราณ สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่